สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
The Office of Agricultural Research and Extension Maejo University

วันที่ 2 กรกฎาคม 2562 สำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการเสวนา เรื่อง "การพัฒนาข้อเสนอโครงการกลุ่มคลัสเตอร์สมุนไพร" โครงการ "พัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุน" โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาวิน มะโนชัย รักษาการแทนรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นประธานในการเปิดงาน ณ ห้องประชุม 5 (กรรมการ) ชั้น 5 สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งมีการนำเสนอแผนงานวิจัย 3 โครงการ ดังนี้
1. การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปจากพืชสมุนไพรสู่การใช้ประโยชน์เชิงพานิชย์ โดยดร.ภัทธนาวรรณ์ ฉันท์รัตนโยธิน
โครงการวิจัยย่อยที่ 1
การจัดทำแผนที่แหล่งพืชสมุนไพรและระบบฐานข้อมลสารสนเทศ
ทางภูมิศาสตร์เพื่อการใช้ประโยชน์ของชุมชน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.สถาพร แสงสุโพธิ์

โครงการวิจัยย่อยที่ 2 การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและสาระสำคัญในผลมะขามป้อม
- การศึกษาวิธีการสกัดสารสำคัญในผลมะขามป้อม และการทดสอบประสิทธิ์ภาพปริมาณ สาระสำคัญและฤทธิ์ต้านอุนูมลอิสระ โดย ดร.นรนทร ทาวแกนจนทร
- การศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาและความเป็นพิษของสารสกัดจากมะขามป้อมใน แบบจำลองในสัตว์ทดลอง. โดย ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.พวงทิพย คุณานุสรณ์
โครงการวิจัยย่อยที่ 3 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปสมุนไพรเพื่อสุขภาพและความงามสู่เชิงพาณิชย์ โดย ดร.ภัทธนาวรรณ ฉันท์รัตนโยธิน
โครงการวิจัยย่อยที่ 4 การศึกษาผลของการใช้สมุนไพร(มะขามป้อม) ที่มีต่อการลดระดับน้ำตาลในเลือดและโคเลสเตอร์รอล โดย นายแพทยวัลลภ พรเรืองวงศ์
โครงการวิจัยย่อยที่ 5 การประเมินศักยภาพและโอกาสของผลิตภิณฑ์สมุนไพรตามความต้องการของตลาดผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อสุขภาพและความงาม โดย รองศาสตราจารย์เอนก ชิตเกษตร

2. นำเสนอแผนงำนวิจัย การปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตวัตถุดิบสมุนไพรข้าวเย็นเหนือโดย..ดร.วาริน สุทนต์
โครงการวิจัยย่อยที่ 1 การรวบรวมและคัดเลือกพันธุ์ดีปลี ขิงแห้ง และเจตมูลเพลิงแดง เพื่อใช้ในตำรับยากัญชา โดย อาจารย์วินัย แสงแก้ว
โครงการวิจัยย่อยที่ 2 การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต ดีปลี ขิงแห้ง และเจตมูลเพลิงแดง โดย ดร.วาริน สุทนต์
โครงการวิจัยย่อยที่ 3 การผลิตสารทุติยภูมิของขิงแห้งและเจตมูลเพลิงแดงโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดย ดร.เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์
โครงการวิจัยย่อยที่ 4 การพัฒนาวิธีการสกัดสารสำคัญและผลิตภัณฑ์สารสกัดดีปลี ขิงแห้ง และเจตมูลเพลิงแดง โดย ดร. นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์
โครงการวิจัยย่อยที่ 5 การจัดทำข้อกำหนดมาตรฐานสมุนไพรเจตมูลเพลิงแดง โดย ดร.ภาวิณี อารีศรีสม

3.นำเสนอแผนงาน การปรับปรุงและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิตพืชสมุนไพรเพื่อใช้ในตำรับยำแผนไทยที่มีกัญชำเป็นส่วนผสม: กรณีศึกษำ ดีปลี ขิงแห้ง และเจตมูลเพลิงแดง
และโครงการวิจัยย่อยที่ 1 การรวบรวมและคัดเลือกพันธุ์ดีปลี ขิงแห้ง และเจตมูลเพลิงแดง เพื่อใช้ใน ตำรับยากัญชา โดย นายวินัย แสงแก้ว
โครงกำรวิจัยย่อยที่ 2 การพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการผลิต ดีปลี ขิงแห้งและเจตมูลเพลิงแดง โดย ดร.วาริน สุทนต์
โครงกำรวิจัยย่อยที่ 3 การผลิตสารทุติยภูมิของขิงแห้งและเจตมูลเพลิงแดงโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดย ดร.เทิดศักดิ์ โทณลักษณ์
โครงกำรวิจัยย่อยที่ 4 การพัฒนาวิธีการสกัดสารส าคัญและผลิตภัณฑ์สารสกัดดีปลี ขิงแห้ง และเจตมูลเพลิงแดง โดย ดร. นรินทร์ ท้าวแก่นจันทร์
โครงกำรวิจัยย่อยที่ 5 การจัดทำข้อกำหนดมาตรฐานสมุนไพรเจตมูลเพลิงแดง โดย ดร.ภาวิณี อารีศรีสม

ปรับปรุงข้อมูล : 2/7/2562 19:08:48     ที่มา : สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้     จำนวนผู้เปิดอ่าน : 749

กลุ่มข่าวสาร : ข่าวประชาสัมพันธ์

ข่าวล่าสุด

ร่วมต้อนรับองคมนตรีและคณะ ในการติดตามและขับเคลื่อนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน 2567 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุริยจรัส เตชะตันมีนสกุล รักษาการแทนรองอธิการบดี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล เลาห์รอดพันธุ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ ร่วมต้อนรับ นายพลากร สุวรรณรัฐ องคมนตรี และคณะ ในการติดตามและขับเคลื่อนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ณ โครงการอ่างเก็บน้ำห้วยโจ้อันเนื่องมาจากพระราชดำริ บ้านโป่ง ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ บรรยายสรุปผลการดำเนินงานโครงการพัฒนาบ้านโปง อันเนื่องมาจากพระราชดำริ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดย นายธนวัฒน์ รอดขาว นักวิชาการเกษตร ชำนาญการพิเศษ สังกัดสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โครงการพัฒนาบ้านโปงอันเนื่องมาจากพระราชดำริ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ดำเนินโครงการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2521 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม พัฒนาอาชีพการปลูกดอกเบญจมาศและเก๊กฮวย รวมถึงการสนับสนุนการเรียนการสอน และงานบริการวิชาการให้แก่นักศึกษา เกษตรกรและประชาชนทั่วไป อีกทั้งยังเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมพืชพันธุ์ดี เช่น มะนาว ฝรั่ง กล้วยไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ และเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ การปลูกไม้ใช้สอยโตเร็ว  ปัจจุบันกิจกรรมในโครงการฯ มีดังนี้ 1. ส่งเสริมพัฒนาอาชีพการปลูกดอกเบญจมาศและเก๊กฮวย รวมถึงงานบริการวิชาการให้แก่นักศึกษา เกษตรกร และประชาชนทั่วไป 2. เป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมพืชพันธุ์ดี เช่น มะนาว ฝรั่ง กล้วยไม้ และไม้ดอกไม้ประดับ 3. การอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรป่าไม้ การปลูกไม้ใช้สอยโตเร็ว
21 พฤศจิกายน 2567     |      12
โครงการปลูกต้นไม้และปล่อยกล้วยไม้ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2567 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล เลาห์รอดพันธุ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมโครงการปลูกต้นไม้และปล่อยกล้วยไม้ เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 28 กรกฎาคม 2567 กิจกรรมในโครงการฯ ผู้เข้าร่วมได้ร่วมปลูกต้นรวงผึ้ง จำนวน 50 ต้นและปล่อยกล้วยไม้ จำนวน 100 ต้น  จัดโดย คณะผลิตกรรมการเกษตรร่วมกับสำนักฟาร์มมหาวิทยาลัย ณ บริเวณรอบอาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทรา
6 พฤศจิกายน 2567     |      24