สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
The Office of Agricultural Research and Extension Maejo University

      กองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้จัดสรรรทุนสำหรับนักวิจัยรุ่นใหม่ ของมหาวิทยาลัยที่มีอายุงานไม่เกิน 3 ปี และไม่เคยได้รับทุนวิจัยประจำปีของมหาวิทยาลัยมาก่อน นักวิจัยรุ่นใหม่ที่สนใจสามารถจัดทำข้อเสนอโครงการวิจัย ตามแบบ ว-1ด จำนวน 3 ชุด พร้อมแผ่นบันทึกข้อมูล (Microsoft Word เท่านั้น) ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด มายังฝ่ายยุทธศาสตร์และประสานงานวิจัย สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร เพื่อให้ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาต่อไป 

 

เอกสารประกอบ    
  หลักเกณฑ์การรับทุน    
  รายชื่อนักวิจัยพี่เลี้ยง    
  กรอบประเด็นงานวิจัย    
แบบเสนอโครงการวิจัย (โครงการวิจัย) 
   
  คำชี้แจง แบบเสนอโครงการวิจัย (โครงการวิจัย)
   
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการดาเนินงาน และเบิกจ่ายเงินโครงการวิจัยนักวิจัยรุ่นใหม่ (งบกองทุนวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยแม่โจ้)
         
ภาคผนวก
   
  ผนวก 2 : ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11     
  ผนวก 3 : นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบับที่ 8     
  ผนวก 4 : นิยามเกี่ยวกับการวิจัย    
ผนวก 5 : ตัวอย่าง รายละเอียดงบประมาณการวิจัยของข้อเสนอการวิจัย จำแนกตามประเภทต่างๆ (ปีงบประมาณที่เสนอขอ)    
ผนวก 6 : ตัวอย่าง ภาพรวมงบประมาณการวิจัยของแผนงานวิจัยที่เสนอขอในแต่ละปี ตลอดการวิจัย    
ผนวก 7 : ตัวอย่าง รายละเอียดงบประมาณการวิจัยของแผนงานวิจัย จำแนกตามประเภทต่างๆ ที่เสนอขอในแต่ละปี ตลอดการวิจัย    
ผนวก 8 : ตัวอย่าง รายละเอียดงบประมาณการวิจัย จำแนกตามประเภทต่างๆ ที่เสนอขอในแต่ละปี (กรณีเป็นแผนงานวิจัย/โครงการวิจัยที่มีระยะเวลาดำเนินการวิจัยมากกว่า 1 ปี)    
  ผนวก 9 : จรรยาวิชาชีพวิจัยและแนวทางปฏิบัติ    
  ผนวก 10 : จรรยาบรรณใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ สภาวิจัยแห่งชาติ    
  ผนวก 11 : ข้อกำหนดสำหรับข้อเสนอการวิจัยที่มีการใช้สัตว์ ที่เสนอของบประมาณแผ่นดิน ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ    
  ผนวก 12 : จริยธรรมการวิจัยในคน    
  ผนวก 13 : ข้อกำหนดสำหรับข้อเสนอการวิจัยในคน ที่เสนอของบประมาณแผ่นดิน ผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ    
  ผนวก 14 : แนวทางปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ สำหรับการดำเนินงานด้านเทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่หรือพันธุวิศวกรรม    
ผนวก 15 : ข้อกำหนดสำหรับข้อเสนอการวิจัยด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ที่เสนอของบประมาณแผ่นดินผ่านสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ    
         
ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติรายประเด็น    
------- ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านการประยุกต์เพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านความมั่นคงของรัฐและการเสริมสร้างธรรมาภิบาล    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านการปฏิรูปการศึกษาและสร้างสรรค์การเรียนรู้    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านการจัดการน้ำ    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านพลังงานทดแทนเพื่อความยั่งยืน    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านสิ่งแวดล้อม    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยรายเทคโนโลยี    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยการท่องเที่ยวแห่งชาติ    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านสังคมผู้สูงอายุ    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทานแห่งชาติ    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนาของการเป็นประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยพื้นที่สูง    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยข้าว    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยมันสำปะหลัง    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยยางพาราแห่งชาติ    
  เกษตร เพื่อความยั่งยืน (สามารถดูรายละเอียดได้จากกลุ่มเรื่องที่ควรมุ่งเน้นตามนโยบายและยุทธศาสตร์ การวิจัยของชาติฉบับที่ 8     
  สุขภาพและชีวเวชศาสตร์    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านพืชสวน (ไม้ผล พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ)    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็นด้านปาล์มน้ำมัน    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยรายประเด็นด้านอ้อยและน้ำตาลทราย    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านการพัฒนาสมุนไพรของประเทศไทย    
  ยุทธศาสตร์การวิจัยด้านอาหารและความมั่นคงด้านอาหารแห่งชาติ    
         
         

 

  

ปรับปรุงข้อมูล : 21/6/2562 11:42:00     ที่มา : สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้     จำนวนผู้เปิดอ่าน : 6572

กลุ่มข่าวสาร : ข่าวงานวิจัย

ข่าวล่าสุด

อบรมเชิงปฏิบัติการ "ผู้บริหารแผนงานวิจัยด้วยเครื่องมือการจัดแบบผสมผสาน"
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ "ผู้บริหารแผนงานวิจัยด้วยเครื่องมือการจัดแบบผสมผสาน" โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพล ทองมา อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นประธานเปิดงาน  ซึ่งวัตถุประสงค์การอบรม การอบรมครั้งนี้มีเป้าหมายสำคัญเพื่อพัฒนาศักยภาพผู้บริหารแผนงานวิจัยและผู้บริหารระดับคณะ ให้สามารถ: - มองเห็นเป้าหมายและเข้าใจบทบาทของการวิจัยและบริการวิชาการที่สอดคล้องกับนโยบายทั้งระดับมหาวิทยาลัยและระดับประเทศ - สร้างแผนการวิจัยและบริการวิชาการแบบบูรณาการข้ามศาสตร์ที่มีความโดดเด่น - ตอบโจทย์ความต้องการตามนโยบายของมหาวิทยาลัยและประเทศ - เพิ่มโอกาสในการได้รับทุนวิจัยและบริการวิชาการ กิจกรรมสำคัญภายในงาน ประกอบด้วยกิจกรรมสำคัญหลายส่วน ได้แก่: 1. **การอบรมกรอบนโยบายและทิศทางการวิจัยของประเทศ**      โดย ศาสตราจารย์ ดร.มนต์ชัย ดวงจินดา ผู้อำนวยการห้องปฏิบัติการปรับปรุงพันธุ์และโอมิกส์ทางสัตว์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2. **การอบรมแผนยุทธศาสตร์งานวิจัยและนวัตกรรม**      ในหัวข้อ "แผนยุทธศาสตร์งานวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป้าหมาย และตัวชี้วัดสำคัญ" โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุริยจรัส เตชะตันมีนสกุล รักษาการแทนอธิการบดี 3. **กิจกรรม Workshop**      เพื่อฝึกปฏิบัติการและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างผู้เข้าร่วม การอบรมเชิงปฏิบัติการนี้จัดขึ้นระหว่างวันที่ 31 มีนาคม - 2 เมษายน 2568 ณ ห้องประชุมข้าวหอมมะลิ อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2 เมษายน 2568     |      17
คว้ารางวัลเกียรติยศระดับดีเยี่ยม (G ทอง) จากโครงการ G-Green ระดับประเทศ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้สร้างความภาคภูมิใจ คว้ารางวัลเกียรติยศระดับดีเยี่ยม (G ทอง) จากโครงการ G-Green ระดับประเทศ สะท้อนความมุ่งมั่นในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาอย่างยั่งยืน เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2568 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาณุวัฒน์ เมฆะ รองผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ ฝ่ายบริหาร และนางสาวเกศณี จิตรัตน์ ตัวแทนจากกลุ่มสำนักงานอาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เข้าร่วมงานประกาศเกียรติคุณ ณ โรงแรมเซ็นทารา ไลฟ์ ศูนย์ราชการและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ แจ้งวัฒนะ กรุงเทพฯ โครงการ G-Green ซึ่งดำเนินการโดยกรมการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม มีวัตถุประสงค์เพื่อยกย่องและเชิดชูเกียรติหน่วยงานที่มีความโดดเด่นด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม สำหรับกลุ่มสำนักงานอาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ นั้น สามารถคว้ารางวัลระดับดีเยี่ยม (G ทอง) ซึ่งเป็นเครื่องการันตีถึงความมุ่งมั่นและความสำเร็จในการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นรูปธรรม รางวัลนี้นับเป็นความภาคภูมิใจของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และเป็นแรงผลักดันให้หน่วยงานคงไว้ซึ่งมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง
28 มีนาคม 2568     |      254
เสวนาติดตามความคืบหน้าโครงการวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2568 สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร จัดโครงการเสวนาเพื่อติดตามความก้าวหน้าและรับฟังปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานวิจัยของนักวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ณ ห้องประชุมมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร อำเภอละแม จังหวัดชุมพรโครงการดังกล่าวมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า "เสวนาความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรค์ในการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณแผนงานและโครงการ ทุนสนับสนุนงานมูลฐานของนักวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567-2568" ซึ่งอยู่ภายใต้แผนงานเสริมสร้างความเข้มแข็งและธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการแผนงานและโครงการพัฒนาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล เลาห์รอดพันธุ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ เป็นประธานกล่าวเปิดงานและชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดเสวนาในครั้งนี้ โดยมุ่งเน้นการติดตามความก้าวหน้าและรับฟังปัญหาอุปสรรคในการดำเนินงานวิจัยและการใช้จ่ายงบประมาณของนักวิจัย เพื่อหาแนวทางแก้ไขร่วมกันจากนั้น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุบรรณ ฝอยกลาง รองผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ ฝ่ายวิจัย ได้รายงานผลการดำเนินงาน ผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบของแผนงานและโครงการทุนสนับสนุนงานมูลฐานที่ต้องรายงานต่อสำนักงานคณะกรรมการการส่งเสริมวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ประจำปี 2567กิจกรรมสำคัญอีกส่วนหนึ่งของงานคือ การเสวนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างนักวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร เกี่ยวกับความก้าวหน้า ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานวิจัย พร้อมทั้งร่วมกันเสนอแนวทางแก้ไขทั้งนี้ คณะผู้บริหารและบุคลากรจากกองบริหารงานวิจัยยังได้ลงพื้นที่เยี่ยมชมโครงการวิจัยที่ได้รับงบประมาณสนับสนุนเพื่อประเมินผลการดำเนินงานในสภาพจริง อันจะนำไปสู่การพัฒนาระบบสนับสนุนการวิจัยที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไปTRANSLATE with xEnglishArabicHebrewPolishBulgarianHindiPortugueseCatalanHmong DawRomanianChinese SimplifiedHungarianRussianChinese TraditionalIndonesianSlovakCzechItalianSlovenianDanishJapaneseSpanishDutchKlingonSwedishEnglishKoreanThaiEstonianLatvianTurkishFinnishLithuanianUkrainianFrenchMalayUrduGermanMalteseVietnameseGreekNorwegianWelshHaitian CreolePersianTRANSLATE with COPY THE URL BELOW BackEMBED THE SNIPPET BELOW IN YOUR SITEsetTimeout(function(){var s=document.createElement('script');s.type='text/javascript';s.charset='UTF-8';s.src=((location && location.href && location.href.indexOf('https') == 0)?'https://ssl.microsofttranslator.com':'http://www.microsofttranslator.com')+'/ajax/v3/WidgetV3.ashx?siteData=ueOIGRSKkd965FeEGM5JtQ**&ctf=true&ui=true&settings=manual&from=en';var p=document.getElementsByTagName('head')[0]||document.documentElement;p.insertBefore(s,p.firstChild); },0);" onclick="this.select()" />Enable collaborative features and customize widget: Bing Webmaster PortalBackORIGINAL: "; langMenu.appendChild(origLangDiv); LanguageMenu.Init('LanguageMenu', LanguageMenu_keys, LanguageMenu_values, LanguageMenu_callback, LanguageMenu_popupid); window["LanguageMenu"] = LanguageMenu; clearInterval(intervalId); } }, 1); >
24 มีนาคม 2568     |      27
ฝึกอบรมเรื่อง "การพัฒนาและการบริหารจัดการแผนงานวิจัย"
เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2568 สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการฝึกอบรมเรื่อง "การพัฒนาและการบริหารจัดการแผนงานวิจัย" ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารบุญรอด ศุภอุดมฤกษ์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพรการอบรมครั้งนี้จัดขึ้นภายใต้โครงการพัฒนาผู้บริหารงานวิจัยระดับมหาวิทยาลัยและพัฒนาข้อมูลด้านงานวิจัย เพื่อยกระดับการบริหารจัดการแผนงานวิจัยและนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล เลาห์รอดพันธุ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ เป็นประธานเปิดงาน พร้อมด้วย อาจารย์ ดร.ฐิระ ทองเหลือ คณบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ให้การต้อนรับคณะวิทยากรและผู้เข้าร่วมการอบรมภายในงานมีการจัดกิจกรรมการบรรยายที่หลากหลายและครอบคลุมประเด็นสำคัญด้านการวิจัย โดยเริ่มจากหัวข้อ "นโยบาย เป้าหมายและทิศทางงานวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้" บรรยายโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล เลาห์รอดพันธุ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ ซึ่งได้นำเสนอวิสัยทัศน์และแนวทางการพัฒนางานวิจัยของมหาวิทยาลัยจากนั้น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรีย์วัลย์ เมฆกมล อดีตรองผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ ฝ่ายวิจัย ได้บรรยายในหัวข้อ "แนวทางการเขียนแผนงานและบริหารโครงการแผนวิจัย" เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยที่มีคุณภาพในส่วนของประเด็นด้านจริยธรรมการวิจัย ดร.อนุพันธุ์ สมบูรณ์วงศ์ นักวิชาการศึกษา กองบริหารงานวิจัย สำนักวิจัยฯ ได้บรรยายเรื่อง "การยื่นขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในคน" ซึ่งเป็นหัวข้อที่มีความสำคัญอย่างยิ่งสำหรับงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์การอบรมปิดท้ายด้วยการบรรยายเรื่อง "การเสนอขอทุนงบประมาณเพื่อสนับสนุนงานมูลฐาน (Fundamental Fund: FF) และงบประมาณโครงการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Science and Technology Development Fund: ST)" โดย นายสมยศ มีสุข หัวหน้างานบริหารและส่งเสริมการวิจัย กองบริหารงานวิจัย สำนักวิจัยฯ ซึ่งให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับช่องทางการขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยที่สำคัญการจัดอบรมครั้งนี้นับเป็นก้าวสำคัญในการพัฒนาศักยภาพนักวิจัยและผู้บริหารงานวิจัยของมหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ซึ่งจะช่วยเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการงานวิจัยและนวัตกรรมของมหาวิทยาลัยต่อไปTRANSLATE with xEnglishArabicHebrewPolishBulgarianHindiPortugueseCatalanHmong DawRomanianChinese SimplifiedHungarianRussianChinese TraditionalIndonesianSlovakCzechItalianSlovenianDanishJapaneseSpanishDutchKlingonSwedishEnglishKoreanThaiEstonianLatvianTurkishFinnishLithuanianUkrainianFrenchMalayUrduGermanMalteseVietnameseGreekNorwegianWelshHaitian CreolePersianTRANSLATE with COPY THE URL BELOW BackEMBED THE SNIPPET BELOW IN YOUR SITEsetTimeout(function(){var s=document.createElement('script');s.type='text/javascript';s.charset='UTF-8';s.src=((location && location.href && location.href.indexOf('https') == 0)?'https://ssl.microsofttranslator.com':'http://www.microsofttranslator.com')+'/ajax/v3/WidgetV3.ashx?siteData=ueOIGRSKkd965FeEGM5JtQ**&ctf=true&ui=true&settings=manual&from=en';var p=document.getElementsByTagName('head')[0]||document.documentElement;p.insertBefore(s,p.firstChild); },0);" onclick="this.select()" />Enable collaborative features and customize widget: Bing Webmaster PortalBackORIGINAL: "; langMenu.appendChild(origLangDiv); LanguageMenu.Init('LanguageMenu', LanguageMenu_keys, LanguageMenu_values, LanguageMenu_callback, LanguageMenu_popupid); window["LanguageMenu"] = LanguageMenu; clearInterval(intervalId); } }, 1); >
24 มีนาคม 2568     |      32