|
- |
|
- |
|
- |
|
- |
|
นวัตกรรมผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจคุณภาพสูงยุค 4.0 รองรับการขยายตัวด้านอุตสาหกรรมอาหารในเขตภาคเหนือ |
|
การยกระดับคุณภาพและเพิ่มมูลค่าของผลผลิตสัตว์น้ำ: พัฒนาระบบเพิ่มออกซิเจนและการหมุนเวียนของน้ำที่เหมาะสมเพื่อการผลิตปลากะพงขาวในระบบ RAS แบบสมบูรณ์ |
|
การจัดการการลดแอมโมเนียในการเลี้ยงปลากะพงในระบบปิดแบบน้ำหมุนเวียน โดยใช้ใช้สารสกัดแทนนินธรรมชาติจากเปลือกมังคุด |
|
การเสริมสารจากเปลือกมะละกอและเปลือกสับปะรดเพื่อเพิ่มผลผลิตปลากะพงและปลากดหลวงเชิงพาณิชย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การยกระดับคุณภาพและเพิ่มมูลค่าของผลผลิตสัตว์น้ำ: พัฒนาสมดุลโซ่อาหาร ในระบบไบโอฟลอค เพื่อผลิตปลาทับทิมเชิงพาณิชย์เพื่อลดต้นทุนการผลิต |
|
การประเมินเทคนิคการเหนี่ยวนำโครโมโซมและระบบการเลี้ยงแบบไบโอฟล็อคที่เหมาะสมกับการเพิ่มผลผลิตปลาบึกสยาม |
|
การลดของเสียในระบบเลี้ยงปลาทับทิมระบบไบโอฟลอคโดยระบบอควาโปนิกส์ (Aquaponics). |
|
การเพิ่มศักยภาพการผลิตสาหร่ายเตาด้วยระบบปิดหมุนเวียนน้ำแบบถาดยกทีใช้ เทคโนโลยี Precision farming ผ่าน smart phone |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การยกระดับคุณภาพและเพิ่มมูลค่าของผลผลิตสัตว์น้ำ: การลดการสะสมของสารที่ก่อให้เกิดกลิ่นสาบโคลนในเนื้อปลาทับทิมที่เลี้ยงแบบไบโอฟลอค (BIOFLOC) ด้วยการควบคุม C/N ratio และ การเลี้ยงแบบน้ำใสก่อนจับขาย |
|
การพัฒนาระบบเกษตรนาแปลงใหญ่เพื่อเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน |
|
การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตนาแปลงใหญ่ของเกษตรกรในเขตพื้นที่ภาคเหนือตอนบน |
|
การตัดสินใจต่อการใช้ปัจจัยการผลิตอย่างเหมาะสมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันของเกษตรกรในเขตภาคเหนือตอนบนภายใต้แนวทางระบบเกษตรนาแปลงใหญ่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
แนวทางการยกระดับความเข็มแข็งการบริหารจัดการระหว่างเครือข่ายของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวระบบเกษตรนาแปลงใหญ่ |
|
การพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจสาหรับระบบเกษตรนาแปลงใหญ่ |
|
การเปรียบเทียบความแม่นยำของแบบจำลองการพยากรณ์ระหว่างวิธีการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณและวิธีโครงข่ายประสาทเทียมในผลผลิตเห็ดจากโรงเรือนอัจฉริยะ |
|
การพัฒนารูปแบบการผลิตเนียมหอมเชิงการค้า โดยประยุกต์ใช้อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การผลิตสัตว์เศรษฐกิจเพื่อความมั่นคงและปลอดภัยทางอาหาร |
|
ศักยภาพของพืชสมุนไพรไทยและจุลินทรีย์โปรไบโอติกต่อการเจริญเติบโตและภูมิคุ้มกันของปลานิลในระบบการผลิตปลานิลอินทรีย์ |
|
การบริหารจัดการการผลิตและสุขภาพปลานิลเพื่อรับมือต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศเพื่อความมั่นคั่งและยั่งยืนของธุรกิจ |
|
การปรับปรุงคุณภาพไข่ไก่ด้วยสาหร่ายไปรูลิน่า |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
รูปแบบที่เหมาะสมในการใช้เศษเหลือปลาจากกระบวนการผลิตปลาส้มและหอยเชอรี่เป็นอาหารเลี้ยงปลาช่อนในระบบน้ำหมุนเวียนแบบอะควาโปนิคส์ เข้าสู่การเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ |
|
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชีวภาพซินไบโอติกส์ที่มีผลต่อการเจริญเติบโต การยับยั้งโรคติดเชื้อ กิจกรรมของเอนไซม์ย่อยอาหาร และการตอบสนอง ต่อระบบภูมิคุ้มกัน ในปลานิลวัยอ่อน |
|
การประมาณค่าทางพันธุกรรมและการศึกษาระดับโมเลกุลเพื่อการพัฒนาสายพันธุ์ปลานิลจากระบบไบโอฟลอคเข้าสู่การเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์โดยการคัดเลือก |
|
แนวทางการพัฒนาการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนด้านการเพาะเลี้ยงปลานิลอินทรีย์ กรณีศึกษาเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิล บ้านแม่แก๊ด ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การปรับปรุงพันธุ์ปลาหนังลูกผสม 3 สายพันธุ์เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเชิงพาณิชย์และวิสาหกิจชุมชน |
|
การเพิ่มระดับโปรตีนของกากมะพร้าวสดโดยกระบวนการหมักลูกแป้งข้าวหมาก ต่อสมรรถนะการผลิตกุ้งก้ามกรามเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน |
|
การเปรียบเทียบสูตรอาหารผสมอาร์โธร์สไปร่า และไข่น้ำในการผลิตปูนา เป็นอาหารปลอดภัย เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนภาคเหนือตอนบน และรักษาสิ่งแวดล้อม |
|
ค้นหารูปแบบการเลี้ยงสัตว์น้ำท้องถิ่นหลายชนิดร่วมกันในบ่อเลี้ยงปลานิลเชิงพาณิชย์แบบยั่งยืนในระบบน้ำหมุนเวียนแบบอะควาโปนิคส์ เพื่อรองรับการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนสัตว์น้ำอินทรีย์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิตน้ำพริกน้ำปูเพื่อความปลอดภัยทางด้านอาหาร |
|
ค้นหาวิสาหกิจชุมชนโดยใช้บริบทการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรประมงในอ่างเก็บน้ำเหนือเขื่อน |
|
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการสำหรับคนรักสุขภาพและผู้สูงอายุโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล และปลูกคัดเลือกในระบบอินทรีย์ |
|
การทดสอบผลผลิต การคุ้มครองพันธุ์ และการผลิตเมล็ดพันธุ์ ของสายพันธุ์ข้าวสังข์หยดพัทลุง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้า/ข้าวเหนียว หอม สีแดง ที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การคัดเลือก ศึกษาพันธุ์ และทดสอบผลผลิตของสายพันธุ์ข้าวหอมมะลิแดง ไม่ไวต่อช่วงแสง ต้นเตี้ย ข้าวเจ้าหอม ต้านทานต่อโรคแมลงที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง |
|
การศึกษาคุณภาพทางเคมี และการสีของเมล็ดของสายพันธุ์ข้าวที่ได้จากโครงการย่อยที่ 1 และโครงการย่อยที่ 2 |
|
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวให้มีแอนโทไซยานินสูงโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือกเพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ |
|
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณลูทีนหรือซีแซนทีนโดยใช้เครื่องหมายดีเอ็นเอ จำเพาะยีนช่วยในการคัดเลือก |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก |
|
การแยกเชื้อจุลินทรีย์ก่อโรคในข้าว และแบคทีเรียเอนโดไฟท์ของข้าวจากนาอินทรีย์ และนาเคมีในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน เพื่อประโยชน์ในการควบคุมโรคข้าวอินทรีย์ด้วยชีววิธี |
|
การเพิ่มศักยภาพการผลิตปาล์มน้ำมันในจังหวัดชุมพร |
|
การวิเคราะห์เสถียรภาพของพันธุ์ปาล์มน้ำมันโดยวิธีรีเกรส |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การวิเคราะห์เสถียรภาพของพันธุ์ปาล์มน้ำมันโดยการวิเคราะห์อิทธิพลแบบผลบวกและปฏิกิริยาสัมพันธ์แบบผลคูณ |
|
ผลของปุ๋ยและประสิทธิภาพของชันโรงในการเพิ่มผลผลิตปาล์มน้ำมัน |
|
ระบบอบแห้งอัจฉริยะต้นแบบสำหรับการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร |
|
การออกแบบ สร้าง และทดสอบระบบอบแห้งแบบผสมผสานอัจฉริยะ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ระบบเฝ้าตรวจวัดและควบคุมอัจฉริยะสำหรับเครื่องอบแห้งแบบผสมผสาน |
|
การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรด้วยระบบอบแห้งแบบผสมผสานอัจฉริยะ |
|
การพัฒนาตัวแบบโรงงานต้นแบบของการเพาะเลี้ยงแมลงศัตรูธรรมชาติสาหรับการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีในเชิงพานิชย์ |
|
การพัฒนาโรงงานต้นแบบของการเพาะเลี้ยงเพิ่มปริมาณแมลงศัตรูธรรมชาติ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การศึกษาต้นทุนการผลิตและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจของการผลิตแมลงศัตรูธรรมชาติภายใต้ระบบห่วงโซ่มูลค่าเพื่อใช้ประโยชน์ในการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธีในเชิงพาณิชย์ |
|
การใช้ประโยชน์แมลงศัตรูธรรมชาติ และการวัดมูลค่าความเป็นประโยชน์ เพื่อใช้ประโยชน์ในการควบคุมโดยชีววิธี: กรณีศึกษา ในนาข้าวและพืชผักวงศ์กะหล่ำในระบบเกษตรอินทรีย์ |
|
การพัฒนาระบบการติดตามและประเมินผล การบริหารจัดการด้านการผลิต การตลาด และการให้บริการผลิตภัณฑ์เชื้อพันธุ์แมลงศัตรูธรรมชาติ สำหรับเกษตรอินทรีย์ |
|
การพัฒนาการผลิตวัตถุดิบและการแปรรูปผลิตภัณฑ์เฉาก๊วยผงสำเร็จรูป |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การประดิษฐ์เซนเซอร์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือตรวจวิเคราะห์สุขภาพส่วนบุคคลโดยใช้นาโนเทคโนโลยีช่วยในการเสริมประสิทธิภาพสัญญา |
|
การพัฒนากลูโคสเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าโดยใช้อนุภาคเมโซพอรัสคาร์บอนร่วมกับอนุภาคนิกเกิลที่มีลักษณะต่าง ๆ |
|
การประดิษฐ์กรดยูริคเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าโดยใช้วัสดุนาโนของกราฟีนร่วมกับอนุภาคโลหะ |
|
การประดิษฐ์โดปามีนไบโอเซนเซอร์โดยใช้เอนไซม์ไทโรซิเนสตรึงร่วมกับคาร์บอนดอทหุ้มด้วยไคโตซาน |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การออกแบบ-วางแผนผังแม่บทระบบการขนส่งอย่างชาญฉลาดเพื่อความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ / การออกแบบและวางแผนผังแม่บทมหาวิทยาลัยสีเขียว เชิงนิเวศ และชาญฉลาดเพื่อความยั่งยืนทางพลังงานและสิ่งแวดล้อม กรณีศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
|
การออกแบบ-วางผังแม่บทพื้นที่สีเขียวภายนอกอาคาร เพื่อควบคุมสภาพอากาศ ให้มีความเหมาะสมต่อสภาวะน่าสบายของมนุษย์ กรณีศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ |
|
การบำบัดน้ำเสียจากอุตสาหกรรมการผลิตผ้าหม้อห้อมด้วยการใช้เชื้อจุลินทรีย์ผสม |
|
การสำรวจศักยภาพและพัฒนาฐานข้อมูลระบบภูมิสารสนเทศเมืองโบราณในแอ่งเชียงใหม่-ลำพูน เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงพื้นที่อย่างยั่งยืน |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
วัสดุปรับปรุงดินจากลีโอนาร์ไดต์และดินขาวเพื่อใช้เป็นตัวปลดปล่อยธาตุอาหารและกำจัดคลอเรตในดิน |
|
การลดกลิ่นไม่พึงประสงค์ของลำไยที่ผ่านการรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ด้วยถ่านกัมมันต์ที่ผลิตได้จากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรโดยวิธีกระตุ้นด้วยพลังงานไมโครเวฟ |
|
เทคโนโลยีวัสดุในการตรวจวัดความสุกแก่ของผลไม้เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าทางการเกษตร |
|
การผลิตวัสดุพร้อมปลูกจากไบโอชาร์ที่ผลิตโดยใช้เศษวัสดุข้าวโพดในชุมชนเพื่อปรับปรุงดิน |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การปรับปรุงสมบัติเชิงกลของใบมีดพรวนดินโดยใช้การบำบัดด้วยความร้อน |
|
การวิเคราะห์และศึกษาสมบัติของวัสดุนาโนที่เจือด้วยไนโตรเจนเพื่อการประยุกต์ใช้ด้านพลังงานแสงอาทิตย์ |
|
การเตรียมถ่านกัมมันต์เมล็ดลำไยที่มีหมู่ฟังก์ชันด้วยกรดซัลโฟนิกและการประยุกต์เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในเอสเทอริฟิเคชันของดิสทิลเลตกรดไขมันปาล์ม |
|
แก้วเชื่อมประสานเสถียรภาพสูงในเซลล์เชื้อเพลิงออกไซด์ของแข็งแบบแผ่น |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การบริหารจัดการสวนป่าไม้สักอย่างยั่งยืนในพื้นที่สวนป่าขุนแม่คำมี จังหวัดแพร่ |
|
การเจริญเติบโต ผลผลิต และ ความหลากหลายของชนิดพันธุ์พืชของสวนป่าไม้สักภายใต้อายุที่แตกต่างกันบริเวณสวนป่าขุนแม่คำมี จังหวัดแพร่ |
|
การใช้ลักษณะเชิงหน้าที่ของพรรณพืชเพื่อประเมินการกักเก็บคาร์บอนในสวนป่าขุนแม่คำมี จังหวัดแพร่ |
|
การเสริมสร้างจิตสำนึกสาธารณะของผู้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรป่าไม้ในเขตพื้นที่สวนป่าแม่คำมี จังหวัดแพร่ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การบริหารจัดการสวนป่าไม้สักอย่างยั่งยืนในพื้นที่สวนป่าขุนแม่คำมี จังหวัดแพร่ |
|
การศึกษาปัจจัยภายในที่มีผลกระทบต่อการไม่เจริญเติบโตของปลายยอดเกสรเพศเมียของลำไยพันธุ์อีดอในฤดูหนาว |
|
การพัฒนาวิธีการตรวจสอบการไม่เจริญเติบโตของปลายยอดเกสรเพศเมียของลำไยพันธุ์อีดอในฤดูหนาว โดยเทคนิคโปรติโอมิกส์ |
|
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสารชีวโมเลกุลในการไม่เจริญเติบโตของปลายยอดเกสรเพศเมียของลำไยพันธุ์อีดอในฤดูหนาว โดยเทคนิคเมทาโบโลมิกส์ |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและทางเคมีในการไม่เจริญเติบโตของปลายยอดเกสรเพศเมียของลำไยพันธุ์อีดอในฤดูหนาว |
|
การยกระดับเกษตรสมัยใหม่สู่อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปลอดภัยด้วยเภสัชภัณฑ์ |
|
เภสัชภัณฑ์จากน้ำมันหอมระเหยในการกำจัดเหาและไรในไก่พื้นเมือง |
|
เภสัชภัณฑ์จากน้ำมันหอมระเหยในการกำจัดเห็บโค |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
เภสัชภัณฑ์จากน้ำมันหอมระเหยสำหรับกำจัดพยาธิภายนอกในสุนัข |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|