สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
The Office of Agricultural Research and Extension Maejo University

   ปรัชญา : มุ่งพัฒนางานวิจัยและบริการวิชาการสู่สังคม   โดยมีการเกษตรเป็นรากฐาน     วิสัยทัศน์ : เป็นศูนย์กลางการพัฒนางานวิจัยและบริการวิชาการ   เพื่อผลักดันมหาวิทยาลัยสู่ระดับนานาชาติ                 ปรัชญา : มุ่งพัฒนางานวิจัยและบริการวิชาการสู่สังคม   โดยมีการเกษตรเป็นรากฐาน     วิสัยทัศน์ : เป็นศูนย์กลางการพัฒนางานวิจัยและบริการวิชาการ   เพื่อผลักดันมหาวิทยาลัยสู่ระดับนานาชาติ                 ปรัชญา : มุ่งพัฒนางานวิจัยและบริการวิชาการสู่สังคม   โดยมีการเกษตรเป็นรากฐาน     วิสัยทัศน์ : เป็นศูนย์กลางการพัฒนางานวิจัยและบริการวิชาการ   เพื่อผลักดันมหาวิทยาลัยสู่ระดับนานาชาติ

ระบบสารสนเทศภายในสำนักวิจัยฯ
สารสนเทศภายใน
สืบค้นข้อมูลรตรวจสอบผลงานตีพิมพ์และวารสารวิชาการในระดับนานาชาติ
สืบค้นข้อมูลผลงานตีพิมพ์
ปฏิทินหลักสูตรฝึกอบรมมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ปฏิทินอบรม

ข่าวประชาสัมพันธ์และกิจกรรม

สำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการเสวนา "การนำเสนอผลงาน นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ ตลอดจนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงานของหน่วยวิจัย ศูนย์ความเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี พ.ศ.2566
วันที่ 27 กันยายน 2566 สำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการเสวนา "การนำเสนอผลงาน นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ ตลอดจนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงานของหน่วยวิจัย ศูนย์ความเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี พ.ศ.2566 ในรูปแบบออนไลน์ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นประธาน ณ ห้องประชุม 304 ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งภายในงานมีการนำเสนอผลการดำเนินงาน 10 ศูนย์/หน่วยวิจัย ได้แก่ 1.ผลการดำเนินงานของหน่วยวัสดุผสมและการสร้างต้นแบบโดยใช้การพิมพ์ลายสามมิติ 2.ผลการดำเนินงานของศูนย์วิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางฟิสิกส์ 3.ผลการดำเนินงานของศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพและการใช้ประโยชน์แห่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 4.ผลการดำเนินงานของศูนย์วิจัยด้านวิชาการเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร 5.ผลการดำเนินงานของศูนย์นวัตกรรมการเกษตรและสิ่งแวดล้อม 6.ผลการดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมทางการเกษตรสำหรับบัณฑิตผู้ประกอบการ 7.ผลการดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศทางการประมงและทรัพยากรทางน้ำ 8.ผลการดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิศวกรรมพลังงาน สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติหมอกควัน 9.ผลการดำเนินงานของศูนย์ความเปิดเลิศด้านสังคมปลาบึก 10.ผลการดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่
27 กันยายน 2566
ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ ร่วมหารือ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในการสร้างการเกษตรให้มีมูลค่าสูง สู่การเกษตร BCG สาขายุทธศาสตร์ภายใต้ BCG
วันที่ 5 กันยายน 2566 รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ ร่วมหารือ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย นายเกรียงไกร เธียรนุกุล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พร้อมทีมงาน นายธนรักษ์ พงเพตรา รองประธาน ประธานสถาบันอุตสาหกรรมเพื่อการเกษตร นายไพฑูรย์ ศิริฉัตรชัยสกุล รองประธาน ประธานสถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่ออุตสาหกรรม นายวิบูลย์ รักสาสน์เจริญผล เลขานุการ innovation one นายวิเชียร เชิดชูตระกูลทอง รองประธานอุตสาหกรรมเชียงใหม่ สร้างการเกษตรให้มีมูลค่าสูง สู่การเกษตร BCG สาขายุทธศาสตร์ภายใต้ BCG ที่แม่โจ้สามารถร่วมได้ ได้แก่ 1) สาขาเกษตรและอาหาร มุ่งสู่การผลิตสินค้าเกษตรและอาหารจากการผลิตมากแต่สร้างรายได้น้อย ไปสู่การผลิตสินค้าที่เป็นพรีเมี่ยมที่ผลิตน้อยแต่สร้างรายได้สูง รวมถึงการเพิ่มความหลากหลายของสินค้าเกษตรเศรษฐกิจ 2) สาขาสุขภาพและการแพทย์ มุ่งเน้นการสร้างความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ทางด้านการผลิตยาและชีวเภสัชภัณฑ์ 3) สาขาพลังงาน วัสดุและเคมีชีวภาพ มุ่งเน้นการเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานและการต่อยอดสู่ผลิตภัณฑ์เคมีและวัสดุชีวภาพมูลค่าสูง ด้วยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุด 4) สาขาการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ มุ่งพัฒนาสู่การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนด้วยการใช้จุดแข็งของพื้นที่มาสร้างอัตลักษณ์ของตนเอง ควบคู่กับการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสูงในการรองรับนักท่องเที่ยว ฟื้นฟูและป้องกันปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ที่เน้นการค้นหารากเหง้าทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเนื้อหาอัตลักษณ์เชิงพื้นที่มาต่อยอดผลิตภัณฑ์และบริการให้มีมูลค่าที่สูงขึ้น เพื่อสร้างการเติบโตอย่างทั่วถึงด้วยการเชื่อมโยงและมุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถของระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือ (NEC) เน้นการพัฒนาระบบการเกษตรปลอดภัย มีมูลค่าสูง ส่งเสริมการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร และต่อยอดเศรษฐกิจด้วยทุนทางวัฒนธรรมล้านนา (Creative Lanna) เทคโนโลยีและองค์ความรู้ขั้นแนวหน้า เป็นแรงขับเคลื่อนที่มีความสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จและการสร้างรากฐานที่มั่นคงและยั่งยืนต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG ตัวอย่างของเทคโนโลยีที่สำคัญ อาทิ 1. Complex Microbiota กับสุขภาพมนุษย์ สัตว์ และพืช เนื่องจากกลุ่มจุลินทรีย์ที่ซับซ้อนที่อาศัยอยู่ในร่างกายหรือผิวหนังมนุษย์และสัตว์มีส่วนสำคัญในการกำหนดสุขภาพที่ดี 2) เทคโนโลยีโอมิกส์ (OMICs) สร้างความรู้สำคัญที่สามารถพัฒนาเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดดทั้งในด้านการเกษตร การแพทย์ และอุตสาหกรรมชีวภาพ 3) วิศวกรรมกระบวนการทางชีวภาพ (Bioprocess Engineering) เป็นเทคโนโลยีพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาต่อยอดชีวมวล 4) Gene Editing และ Synthetic Biology เพื่อปรับเปลี่ยนพันธุกรรมหรือสร้างสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะตามต้องการ โดยเฉพาะจุลินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมและในเซลล์เพื่อการผลิตยาชีววัตถุ 5) เทคโนโลยีการผลิตแบบคาร์บอนต่ำ สำหรับเศรษฐกิจหมุนเวียนและเศรษฐกิจสีเขียว 6) เทคโนโลยีประมวลความเร็วสูงด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ยุคใหม่ รองรับการทำงานของระบบปัญญาประดิษฐ์ขั้น Deep Learning สำหรับการพัฒนาเทคโนโลยี เกษตรอาหาร สุขภาพและการแพทย์ที่มีความแม่นยำสูง 7) เทคโนโลยีดิจิทัลแพลตฟอร์มขั้นสูง ทางการเกษตร
6 กันยายน 2566
นักวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คว้ารางวัล "Gold Award" ในงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2566 (Thailand Research Expo 2023)
นักวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คว้ารางวัล "Gold Award" ในงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2566 (Thailand Research Expo 2023)”โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นตัวแทนมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในการรับมอบรางวัลดังกล่าว ในผลงานวิจัยเรื่อง “กำเนิดพันธุ์ข้าวหอมแม่โจ้” โดย หน่วยความเป็นเลิศด้านการปรับปรุงพันธุ์ข้าวมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระหว่างวันที่ 7 - 11 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิรด์ กรุงเทพมหานคร 
25 สิงหาคม 2566
ต้อนรับคณะผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนห้วยพุกวิทยา จังหวัดพิจิตร เข้าศึกษาดูงานด้านเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่
เมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2565  กองบริหารงานบริการวิชาการ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร นำโดย นายนิคม วงศ์นันตา ผู้อำนวยการกองบริหารงานบริการวิชาการ และนายนิคม สุทธา นักวิชาการเกษตร ให้การต้อนรับคณะผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนห้วยพุกวิทยา อำเภอดงเจริญ จังหวัดพิจิตร เข้าศึกษาดูงานด้านเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรได้ศึกษาความรู้และประสบการณ์ ณ แปลงสาธิตเกษตรทฤษฎีใหม่ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
10 ตุลาคม 2565
โครงการฝึกอบรมหลักสูตร การเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารและความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืนตามแนวพระราชดำริ
โครงการฝึกอบรมหลักสูตร "การเสริมสร้างความมั่นคงทางอาหารและความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืนตามแนวพระราชดำริ" โดยความร่วมมือระหว่างประเทศ(TICA) ร่วมกับศูนย์ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริและความมั่นคง(ศปร.) บูรณาการความร่วมมือในการดำเนินการพัมนาชุมชนต้นแบบตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ณ สาธารณรัฐประชาธิปไตยติมอร์-เลสเต  โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหมู่บ้านต้นแบบ ให้ความเข้มแข็งสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ได้เข้าร่วมดำเนินการจัดหลักสูตรการฝึกอบรมดังกล่าว มีกลุ่มเป้าหมายจำนวน 12 คน จากหมู่บ้านต้นแบบ ซึ่งโครงการมีระยะเวลาการฝึกอบรม ระหว่างวันที่ 8-18 กันยายน 2565 ณ คณะ/สำนัก ภายในมหาวิทยาลัยแม่โจ้
7 กันยายน 2565
คลินิกเทคโนโลยี ม.แม่โจ้ ร่วมจัดแสดงนิทรรศการงาน Field day 65
    วันพุธที่ 18 พฤษภาคม 2565 คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมจัดแสดงนิทรรศการในงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field day 65) จัดโดย สำนักงานเกษตรอำเภอไชยปราการ โดยนำองค์ความรู้เกี่ยวกับการเพาะพันธุ์มะม่วงและองค์ความรู้ทางด้านการเกษตร รวมไปถึงสินค้า อาทิเช่น มะม่วงอบแห้ง ข้าวไรซ์เบอรี่ ผงผักเคล เมล็ดพันธุ์ผักอินทรีย์ และชากัญชา เข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการ เพื่อให้ความรู้แก่เกษตรกรและผู้สนใจ ในการนี้ นายนิคม สุธา นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ กองบริหารงานบริการวิชาการ สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้  ได้ร่วมเป็นคณะกรรมการการตัดสินการประกวดพันธุ์มะม่วง จำนวน 4 ชนิด ได้แก่ มะม่วงพันธุ์จินหวง มะม่วงพันธุ์มหาชนก มะม่วงพันธุ์อาร์ทูอีทู และมะม่วงยักษ์ ณ ศูนย์เรียนรู้มีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง หมู่ที่ 7 ตำบลหนองบัว อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ 
19 พฤษภาคม 2565
ผู้บริหารและบุคลากรสำนักวิจัยฯ ร่วมพบพบปะอธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้
    วันพุธที่ 18 พฤษภาคม 2565 เวลา 13.30 - 16.00 น. ผู้บริหารและบุคลากรสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมพบ รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพล ทองมา อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร ให้การต้อนรับอธิการบดี และผู้บริหารของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในโครงการอธิการบดีและผู้บริหารพบบุคลากรสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ณ ห้องประชุม 304 ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้
19 พฤษภาคม 2565
เสวนาแนวทางการจัดทำข้อเสนอโครงการทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ (บพท.)
     วันพุธที่ 18 พฤษภาคม 2565 เวลา 09.00 - 12.00 น. สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดเสวนาแนวทางการจัดทำข้อเสนอโครงการทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ (บพท.) โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร เป็นประธานกล่าวเปิดการเสวนา ณ ห้องประชุม 304 ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ และประชุมออนไลน์ผ่านระบบ Microsoft Teams เพื่อเป็นการส่งเสริมและกระตุ้นให้นักวิจัยมีทางเลือกในการเขียนข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับทุนจากแหล่งทุนภายนอก (บพท.) ภายในการเสวนามีการรับฟังบรรยายแลกเปลี่ยนประสบการณ์การพัฒนาข้อเสนอโครงการและการทำงานในพื้นที่ โดย อ.ดร.ปริญญา ปฏิพันธกานต์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โครงการการศึกษาทุนทางวัฒนธรรมของชุมชนในเขตเมืองเก่าแพร่ เพื่อส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิ่มของผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม อาจารย์ ดร.ฐิระ ทองเหลือ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร โครงการกลไกการพัฒนาพื้นที่เพื่อลดรายจ่ายและพัฒนาคุณภาพชีวิตด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรมจังหวัดชุมพร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณภัทร เรืองนภากุล คณะสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โครงการตลาดออนไลน์และการสื่อสารเพื่อการมีส่วนร่วมในการสร้างอาชีพและเพิ่มช่องทางการตลาดสมัยใหม่ และรับฟังแนวทาง ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะในการพัฒนาแผนงานโครงการจากผู้ทรงคุณวุฒิ โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิฑูรย์ เหลียวรุ่งเรือง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
19 พฤษภาคม 2565
งานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field day) ณ ศูนย์เรียนรู้มีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่
สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร โดยงานคลินิคเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมกับสำนักงานเกษตรอำเภอไชยปราการ จัดงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field day) ปี 2565 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกษตรกรนำองค์ความรู้ที่เหมาะสมในแต่ละพื้นที่ไปประยุกต์ใช้ในไร่นาและสวนของตนเอง โดยงานจัดขึ้นในวันพุธที่ 18 พฤษภาคม 2565 ณ ศูนย์เรียนรู้มีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง หมู่ 7 บ้านปง ตำบลหนองบัว อำเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ ในการนี้ งานคลินิกเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมจัดแสดงนิทรรศการนำองค์ความรู้เกี่ยวกับการเพาะพันธุ์มะม่วงและองค์ความรู้ทางด้านการเกษตรอื่นๆ รวมไปถึงสินค้า อาทิเช่น มะม่วงอบแห้ง ข้าวไรซ์เบอรี่ ผงผักเคล เมล็ดพันธุ์ผักอินทรีย์ และชากัญชา เข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการ ให้ความรู้แก่เกษตรกร เพื่อนำองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์ในด้านต่าง ๆ  จากนั้น ได้เข้าร่วมเป็นคณะกรรมการการตัดสินการประกวดพันธุ์มะม่วง จำนวน 4 ชนิด ได้แก่ มะม่วงพันธุ์จินหวง มะม่วงพันธุ์มหาชนก มะม่วงพันธุ์อาร์ทูอีทู และมะม่วงยักษ์
19 พฤษภาคม 2565
พิธีดำหัวผู้อาวุโสและผู้บริหารสำนักวิจัยฯ เนื่องในเทศกาลปี๋ใหม่เมือง ประจำปี 2565
วันที่ 28 เมษายน 2565 สำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดพิธีดำหัวผู้อาวุโสและผู้บริหารสำนักวิจัยฯ เนื่องในเทศกาลปี๋ใหม่เมือง ประจำปี 2565 นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์พาวิน มะโนชัย รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ ผู้บริหาร และบุคลากรสำนักวิจัยฯ ในการกล่าวขอขมาและขอพรอาวุโส โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.เทพ พงษ์พานิช เป็นตัวแทนของผู้อาวุโส ในการให้พรแต่บุคลากรสำนักวิจัยฯ ณ ห้องรับรองพิเศษ ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้
28 เมษายน 2565
สำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการเสวนา "การนำเสนอผลงาน นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ ตลอดจนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงานของหน่วยวิจัย ศูนย์ความเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี พ.ศ.2566
วันที่ 27 กันยายน 2566 สำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จัดการเสวนา "การนำเสนอผลงาน นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ ตลอดจนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลการดำเนินงานของหน่วยวิจัย ศูนย์ความเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ประจำปี พ.ศ.2566 ในรูปแบบออนไลน์ โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นประธาน ณ ห้องประชุม 304 ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งภายในงานมีการนำเสนอผลการดำเนินงาน 10 ศูนย์/หน่วยวิจัย ได้แก่ 1.ผลการดำเนินงานของหน่วยวัสดุผสมและการสร้างต้นแบบโดยใช้การพิมพ์ลายสามมิติ 2.ผลการดำเนินงานของศูนย์วิจัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางฟิสิกส์ 3.ผลการดำเนินงานของศูนย์วิจัยความหลากหลายทางชีวภาพและการใช้ประโยชน์แห่งมหาวิทยาลัยแม่โจ้ 4.ผลการดำเนินงานของศูนย์วิจัยด้านวิชาการเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร 5.ผลการดำเนินงานของศูนย์นวัตกรรมการเกษตรและสิ่งแวดล้อม 6.ผลการดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมทางการเกษตรสำหรับบัณฑิตผู้ประกอบการ 7.ผลการดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศทางการประมงและทรัพยากรทางน้ำ 8.ผลการดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศด้านวิศวกรรมพลังงาน สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติหมอกควัน 9.ผลการดำเนินงานของศูนย์ความเปิดเลิศด้านสังคมปลาบึก 10.ผลการดำเนินงานของศูนย์ความเป็นเลิศด้านนวัตกรรมเกษตรสมัยใหม่
27 กันยายน 2566
ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ ร่วมหารือ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ในการสร้างการเกษตรให้มีมูลค่าสูง สู่การเกษตร BCG สาขายุทธศาสตร์ภายใต้ BCG
วันที่ 5 กันยายน 2566 รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ ร่วมหารือ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย นายเกรียงไกร เธียรนุกุล ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย พร้อมทีมงาน นายธนรักษ์ พงเพตรา รองประธาน ประธานสถาบันอุตสาหกรรมเพื่อการเกษตร นายไพฑูรย์ ศิริฉัตรชัยสกุล รองประธาน ประธานสถาบันเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่ออุตสาหกรรม นายวิบูลย์ รักสาสน์เจริญผล เลขานุการ innovation one นายวิเชียร เชิดชูตระกูลทอง รองประธานอุตสาหกรรมเชียงใหม่ สร้างการเกษตรให้มีมูลค่าสูง สู่การเกษตร BCG สาขายุทธศาสตร์ภายใต้ BCG ที่แม่โจ้สามารถร่วมได้ ได้แก่ 1) สาขาเกษตรและอาหาร มุ่งสู่การผลิตสินค้าเกษตรและอาหารจากการผลิตมากแต่สร้างรายได้น้อย ไปสู่การผลิตสินค้าที่เป็นพรีเมี่ยมที่ผลิตน้อยแต่สร้างรายได้สูง รวมถึงการเพิ่มความหลากหลายของสินค้าเกษตรเศรษฐกิจ 2) สาขาสุขภาพและการแพทย์ มุ่งเน้นการสร้างความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ทางด้านการผลิตยาและชีวเภสัชภัณฑ์ 3) สาขาพลังงาน วัสดุและเคมีชีวภาพ มุ่งเน้นการเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานและการต่อยอดสู่ผลิตภัณฑ์เคมีและวัสดุชีวภาพมูลค่าสูง ด้วยการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้เกิดความคุ้มค่ามากที่สุด 4) สาขาการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ มุ่งพัฒนาสู่การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนด้วยการใช้จุดแข็งของพื้นที่มาสร้างอัตลักษณ์ของตนเอง ควบคู่กับการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสูงในการรองรับนักท่องเที่ยว ฟื้นฟูและป้องกันปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ควบคู่กับการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ที่เน้นการค้นหารากเหง้าทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น และเนื้อหาอัตลักษณ์เชิงพื้นที่มาต่อยอดผลิตภัณฑ์และบริการให้มีมูลค่าที่สูงขึ้น เพื่อสร้างการเติบโตอย่างทั่วถึงด้วยการเชื่อมโยงและมุ่งเน้นการพัฒนาความสามารถของระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือ (NEC) เน้นการพัฒนาระบบการเกษตรปลอดภัย มีมูลค่าสูง ส่งเสริมการแปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์อาหาร และต่อยอดเศรษฐกิจด้วยทุนทางวัฒนธรรมล้านนา (Creative Lanna) เทคโนโลยีและองค์ความรู้ขั้นแนวหน้า เป็นแรงขับเคลื่อนที่มีความสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จและการสร้างรากฐานที่มั่นคงและยั่งยืนต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ BCG ตัวอย่างของเทคโนโลยีที่สำคัญ อาทิ 1. Complex Microbiota กับสุขภาพมนุษย์ สัตว์ และพืช เนื่องจากกลุ่มจุลินทรีย์ที่ซับซ้อนที่อาศัยอยู่ในร่างกายหรือผิวหนังมนุษย์และสัตว์มีส่วนสำคัญในการกำหนดสุขภาพที่ดี 2) เทคโนโลยีโอมิกส์ (OMICs) สร้างความรู้สำคัญที่สามารถพัฒนาเทคโนโลยีอย่างก้าวกระโดดทั้งในด้านการเกษตร การแพทย์ และอุตสาหกรรมชีวภาพ 3) วิศวกรรมกระบวนการทางชีวภาพ (Bioprocess Engineering) เป็นเทคโนโลยีพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาต่อยอดชีวมวล 4) Gene Editing และ Synthetic Biology เพื่อปรับเปลี่ยนพันธุกรรมหรือสร้างสิ่งมีชีวิตให้มีลักษณะตามต้องการ โดยเฉพาะจุลินทรีย์สำหรับอุตสาหกรรมและในเซลล์เพื่อการผลิตยาชีววัตถุ 5) เทคโนโลยีการผลิตแบบคาร์บอนต่ำ สำหรับเศรษฐกิจหมุนเวียนและเศรษฐกิจสีเขียว 6) เทคโนโลยีประมวลความเร็วสูงด้วยระบบปัญญาประดิษฐ์ยุคใหม่ รองรับการทำงานของระบบปัญญาประดิษฐ์ขั้น Deep Learning สำหรับการพัฒนาเทคโนโลยี เกษตรอาหาร สุขภาพและการแพทย์ที่มีความแม่นยำสูง 7) เทคโนโลยีดิจิทัลแพลตฟอร์มขั้นสูง ทางการเกษตร
6 กันยายน 2566
นักวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คว้ารางวัล "Gold Award" ในงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2566 (Thailand Research Expo 2023)
นักวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คว้ารางวัล "Gold Award" ในงาน “มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2566 (Thailand Research Expo 2023)”โดยมี รองศาสตราจารย์ ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์ ผู้อำนวยการสำนักวิจัยฯ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นตัวแทนมหาวิทยาลัยแม่โจ้ในการรับมอบรางวัลดังกล่าว ในผลงานวิจัยเรื่อง “กำเนิดพันธุ์ข้าวหอมแม่โจ้” โดย หน่วยความเป็นเลิศด้านการปรับปรุงพันธุ์ข้าวมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ระหว่างวันที่ 7 - 11 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิรด์ กรุงเทพมหานคร 
25 สิงหาคม 2566
ประกาศผลผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้างหรือผู้ได้รับการคัดเลือก และสาระสำคัญของสัญญาหรือข้อตกลงเป็นหนังสือ ประจำไตรมาสที่ 1 (เดือนตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2565)
25/1/2566 15:56:21
ประกาศผลผู้ชนะการจัดซื้อจัดจ้างฯ ประจำไตรมาส 4 (ก.ค.-ก.ย.2565)
11/10/2565 11:15:56
ประกวดราคาจ้างเหมาก่อสร้างอาคารโรงอาหารสัตว์อินทรีย์พร้อมครุภัณฑ์ จำนวน 1 หลัง(TOR)
10/6/2559 9:33:38
ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและราคากลาง(ราคาอ้างอิง)ฯ (ปปช.07) วัสดุเกษตร 7รายการ
28/3/2559 11:56:30
ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและราคากลาง(ราคาอ้างอิง)ฯ (ปปช.07) ครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์การแพทย์ 7 รายการ
28/3/2559 11:57:12
ประกวดราคาซื้อด้วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์(e-bidding) ครุภัณฑ์สำนักงาน จำนวน 4 รายการ
28/3/2559 11:51:32
ตารางแสดงวงเงินงบประมาณที่ได้รับจัดสรรและราคากลาง(ราคาอ้างอิง)ในการจัดซื้อจัดจ้างที่มิใช่งานก่อสร้าง (แบบ ปปช07)
21/3/2559 9:35:26
ประกวดราคาซื้อครุภัณฑ์คอมพิวเตอร์ จำนวน 4 รายการ
17/3/2559 15:30:07
ประกวดราคาซื้อครุภัณฑ์ ยานพาหนะ จำนวน 1 รายการ
17/3/2559 15:23:25
ประกวดราคาซื้อครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์ จำนวน 4 รายการ
17/3/2559 15:10:50
ขอเชิญนักวิจัยมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ส่งผลงานวิจัยเข้าร่วมนำเสนอภาคการประชุม / สัมมนา และภาคนิทรรศการในงาน "มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2564 (Thailand Research Expo 2021)
22/1/2564 14:21:06
เปิดรับขอเสนอการวิจัยสถาบัน ปีงบประมาณ 2559
23/6/2560 9:48:51
ผลการพิจารณาข้อเสนอโครงการ Innovation Hubs เพื่อสร้างเศรษฐกิจฐานนวัตกรรมของประเทศตามนโยบาย 4.0
4/7/2560 11:55:57
ประกวดราคาจ้างเหมาก่อสร้างโรงเรือนจำนวน 3 โรง
20/1/2559 15:19:47
ประกวดราคาซื้อครุภัณฑ์ รถโดยสารขนาด 12 ที่นั่ง(ดีเซล) จำนวน 1 คัน
6/1/2559 14:47:16
ปรับอัตราการสนับสนุนงบประมาณในการเดินทางไปเสนอผลงาน ณ ต่างประเทศ
23/11/2558 9:40:19
เอกสารประกอบการประชุมชี้แจงรับทุนวิจัย ปีงบประมาณ 2559
4/11/2558 16:30:54
การจําแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ ราคามาตรฐานครุภัณฑ์
12/10/2558 10:55:55
โครงการทุน Newton Fund ทุนสนับสนุนด้านการวิจัยและนวัตกรรมจากสหราชอาณาจักร
19/6/2558 14:55:52
การจัดทำข้อเสนอการวิจัย (งบปกติ) ประจำปีงบประมาณ 2561
1/8/2559 9:33:57

ดูข่าวกิจกรรมทั้งหมด

หน่วยงานในกำกับสำนักวิจัยฯ
Image 1
Image 2
Image 3
Image 4
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
Image 1
Image 2
Image 3
Image 4
Image 4

E-book

วิดีโอบริการวิชาการ
     


รศ.ดร.อภินันท์ สุวรรณรักษ์

ภายในหน่วยงาน
บริการความรู้
ประชุมวิชาการ
แผนแม่บทงานวิจัย
ฐานข้อมูลองค์ความรู้ฯ
ฐานข้อมูลพันธุ์พืชสัตว์
One Stop
กฎระเบียบงานคลัง
อัตราค่าบริการเกษตรทฤษฎีใหม่
อัตราจำหน่ายผลผลิตเกษตร
ห้องประชุม
ห้องประชุม
zoom meeting
ลิ้งค์อื่นๆ

เพิ่มเพื่อน